หัวข้อที่น่าสนใจ

บทความที่เกี่ยวข้อง

ประเภทเครื่องดีดดนตรีไทย

ประเภทเครื่องดีดดนตรีไทย เครื่องดีด เป็นเครื่องดนตรีไทยที่บรรเลงหรือเล่นด้วยการใช้นิ้วมือ หรือไม้ดีด ดีดสาย ให้สั่นสะเทือนจึงเกิดเสียงขึ้น เครื่องดนตรีไทยประเภทนี้มีหลายชนิด แต่ที่นิยมเล่น กันแพร่หลาย ในปัจจุบันมีอยู่ไม่กี่ชนิด คือ กระจับ พิณ และจะเข้ สล็อตโจ๊กเกอร์เว็บตรง

กระจับปี่ ประเภทเครื่องดีดดนตรีไทย

ประเภทเครื่องดีดดนตรีไทย กระจับปี่  เป็นพิณชนิดหนึ่ง มี ๔ สายกระพุ้งพิณมีลักษณะ เป็นกล่องแบน

รูปทรงสี่เหลี่ยมคางหมูมุมมน ด้านหน้าทำเป็นช่องให้เสียงกังวาน

ทวนทำเป็นก้านเรียวยาวและกลมกลึงปลายแบน และงอนโค้งไปด้านหลัง

ตรงปลายทวนมีลิ่มสลักเป็นลูกบิดไม้สำหรับขึ้นสาย ๔ ลูก สายส่วนมากทำด้วยสายเอ็น

หรือลวดทองเหลืองตลอดแนวทวนด้านหน้าทำเป็น “สะพาน” หรือ นม ปักทำด้วยไม้ joker slot auto

เขาสัตว์หรือกระดูกสัตว์สำหรับหมุนสายมี ๑๑ นมบนหน้ากระพุ้งพิณมีชิ้นไม้หรือชิ้นโลหะ

รองสายไว้เรียกว่า “หย่อง”ทำหน้าที่ถ่ายทอดแรงสะเทือน จากการดีดสายลงมาสู่

ตัวกระพุ้งพิณเวลาบรรเลงใช้นิ้วจับไม้ดีดเขี่ยสาย เพื่อให้เกิดเสียง ไม้ดีดปักทำด้วยงาช้าง

เขาสัตว์ หรือวัสดุที่มีลักษณะ แบนและบางกระจับปี่พัฒนามาจากเครื่องดนตรี

ประเภทหนึ่งของอินเดียมีต้นกำเนิดจากการดีดสายธนู ตามหลักฐานพบว่า

กระจับปี่มีมาตั้งแต่ สมัยสุโขทัย เครื่อง ดีด ไทย

จะเข้

จะเข้  สัณนิษฐานว่า ได้รับอิทธิพลจากมอญ เดิมทำเป็น รูปร่างเหมือน จระเข้

ไทยใช้จะเข้มาตั้งแต่สมัยอยุธยา และคงเล่นอย่างบรรเลงเดียว ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จ

สล็อตโจ๊กเกอร์ค่ายใหญ่ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้นำจะเข้เข้ามาผสมแทนกระจับปี่เพราะเสียงดีกว่าและดีดได้

สะดวกกว่าจะเข้เป็นเครื่องดนตรีที่วางดีดตามแนวนอนทำด้วยไม้ท่อนขุดเป็นโพรงอยู่ภายใน

นิยมใช้ไม้แก่นขนุนเพราะให้เสียงกังวาลดีด้านล่างเป็นพื้นไม้ ซึ่งมักใช้ไม้ฉำฉา

เจาะรูไว้ให้เสียงออกดีขึ้น มีขาอยู่ตอนหัว๔ ขา ตอนท้าย ๑ ขา มีสาย ๓ สาย คือ สายเอก(เสียงสูง)

สายกลาง(เสียงทุ้ม) ทั้งสองสายนี้ทำด้วยเอ็นหรือไหมฟั่นเป็นเกลียวสายที่สามเรียก สายลวด(เสียงต่ำ)

ทำด้วยลวดทองเหลืองทั้งสามสายนี้ขึงจากหลักตอนหัวผ่าน โต๊ะ (กล่องทองเหลืองกลวง)

ไปพาดกับ”หย่อง”แล้วสอดลงไปพันกันด้านลูกบิด(ปักทำด้วยไม้หรืองา) สายละลูกโต๊ะนี้

ทำหน้าที่ขยายเสียงของจะเข้ให้คมชัดขึ้นระหว่างราง ด้านบนกับสายจะเข้จะมีชิ้นไม้เล็ก ๆ

ทำเป็นสันหนาเรียกว่า “นม” ๑๑ นม วางเรียงไปตามแนวยาว

เพื่อรองรับการกด จากนิ้วมือขณะบรรเลง นมเหล่านี้มีขนาดสูงต่ำลดหลั่นกันไป

ทำให้เกิดเสียงสูง-ต่ำ เวลาดีดพิณน้ำเต้า จะใช้ไม้ดีดที่ทำด้วยงาหรือเขาสัตว์ กลึงเป็นท่อนกลม

ปลายเรียวแหลมมน ดีดปัดสายไปมา ไม้ดีดนี้จะพันติดกับนิ้วชี้มือขวาส่วนมือซ้ายใช้

กดนิ้วบนสายถัดจากนม ไปทางซ้ายเล็กน้อยเพื่อให้เกิดเสียงสูงต่ำตามที่ต้องการ เครื่องดนตรีไทย ดีด

พิณน้ำเต้า

พิณน้ำเต้า   สันนิษฐานว่า พิณมีกำเนิดในประเทศ ทางตะวันออก พิณโบราณเรียนพิณน้ำเต้า

ซึ่งมีลักษณะเป็น พิณสายเดี่ยว สันนิษฐานว่าชาวอินเดียนำมาแพร่หลายในดินแดนสุวรรณภูมิ

การที่เรียกว่าพิณน้ำเต้า เพราะใช้ เปลือกผลน้ำเต้ามาทำคันพิณที่เรียกว่า ทวน ทำด้วยไม้เหลา

ให้ปลายข้างหนึ่งเรียวงอนโค้งขึ้นสำหรับผูกสาย ที่โคนทวน เจาะรูแล้วเอาไม้มาเหลาทำลูกบิด

สำหรับบิดให้สายตึงหรือหย่อน เพื่อให้เสียงสูงต่ำสายพิณมีสายเดียวเดิมทำด้วยเส้นหวาย

ต่อมาใช้เส้นไหมและใช้ลวดทองเหลืองในปัจจุบันการดีดพิณน้ำเต้า  ปกติผู้ดีดจะไม่สวมเสื้อ

ใช้มือซ้ายจับทวนเอากะโหลกพิณประกบติดกับเนื้อที่อกเบื้องซ้าย ใช้มือขวาดีดสายขยับ

กะโหลกปิดเปิดที่ทรวงอกเพื่อให้เกิดเสียงก้องกังวานตามที่ต้องการใช้นิ้วมือซ้ายช่วยกดหรือเผยอ

เพื่อให้สายตึงหย่อน การดีด เครื่อง ดีด ดนตรี ไทย

พิณอีสาน

พิณอีสาน   พิณมีชื่อเรียกแตกต่างกันออกไปเช่น ซุง ซึงหมากจับปี่ หมากตดโต่ง หมากตับเต่ง

เป็นต้น พิณทำด้วยไม้ เช่น ไม้ขนุน(ไม้บักมี่)เพราะมีน้ำหนักเบาและให้เสียงทุ้มกังวานไพเราะกว่า

ไม้ชนิดอื่นมีรูปร่างคล้ายกีตาร์แต่ฝีมือหยาบกว่า พิณอาจจะมี 2 สาย 3 สาย หรือ 4 สายก็ได้โดย

แบ่งออกเป็น2 คู่ เป็นสายเอก 2 สาย และสายทุ้ม 2 สายดั้งเดิมใช้สายลวดเบรครถจักรยาน

เพราะคงทนและให้เสียงดังกว่าสายชนิดอื่นแต่ในปัจจุบันนิยมใช้สายกีตาร์แทนการขึ้นสาย

ไม่มีระบบแน่นอนนมหรือขั้นที่ใช้นิ้วกดบังคับระดับเสียงจะไม่ฝังตายตัวเหมือนกีตาร์หรือ

แมนโดลินการเล่นก็เล่นเป็นเพลงเรียกว่าลายโดยมากพิณจะเล่นคู่กันกับแคนจะประสาน

กับเสียงขับร้องของผู้ดีดเอง เครื่องดนตรี ดี ด ไทย

ซึง

ซึง   เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายที่ใช้วิธีเล่นโดยการดีดสมัยก่อนใช้สายลวดเส้นเล็ก ๆ

หรือสายเบรกรถจักยาน แต่ปัจจุบันนิยมใช้สายกีตาร์แทนซึงของชาวเหนือเป็นพิณแบบสายคู่

โดยแบ่งเป็นสายบน และคู่สายล่าง (สายบน – สายลุ่ม)มีลูกนับแบ่งเป็นช่อง ๆ คล้ายกีตาร์ซึง

มีทั้งขนาดเล็ก ขนาดกลางขนาดใหญ่และยังมีขนาดใหญ่มาก ๆ เรียกกันว่า ซึงหลวงแต่นิยม

เล่นกันทั่วไปมักเล่นเพียง ๓ ขนาด คือ ขนาดเล็ก กลาง ใหญ่ซึงใช้เล่นเพื่อให้เสียงประสานและ

ตัดกัน ในการเล่นเป็นกลุ่ม หรือคณะหรือเล่นบรรเลงเดี่ยวโดยเลือกขนาดที่ชอบของแต่ละบุคคล

ซึงแต่ละขนาดต่างมีสำเนียงเฉพาะตัว มีความไพเราะ คนละรูปแบบส่วนประกอบของซึง เครื่อง ดีด ดนตรีไทย ทั้งหมด

ไหซอง

ไหซอง   เป็นเครื่องดนตรีประเภทคุมจังหวะให้เสียงทุ้มต่ำ แตกต่างกันขึ้นอยู่กับความโตของไห

ที่ใช้และความตึงหย่อนของหนังยางที่ขึงพาดอยู่ปากไห   ไหซอง โดยทั่วไป นิยมใช้บรรจุปลาร้า

เกลือ และหมักสาโท ยังไม่ทราบชัดเจนว่าใครเป็นผู้นำไหซอง มาทำเป็นเครื่องดนตรีคนแรกไหซอง

ทำเป็นเครื่องดนตรี ได้โดยใช้สายยาง หรือสายหนังสะติ๊ก (สมัยก่อน ใช้ยางในรถจักรยาน หรือ

ยางในล้อรถต่อมาใช้ยางหนังสะติ๊ก) ขึงให้ตึงพาดผ่านปากไห และมัดยึดปลายสองด้านไว้กับคอไห

ปรับความตึงของหนังยางให้พอเหมาะ   เวลาจะเล่นใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้เกี่ยวดึงสายหนังยาง

ขึ้นมาแล้วปล่อยเสียงที่ได้จากการดึงปล่อยหนังยาง จะดังทุ้มต่ำ คล้ายเสียงเบส   สมัยก่อนนั้น

ยังไม่มีเบสจึงใช้ไหซองแทนเสียงเบส โดยจำนวนไหที่นิยมใช้ ประมาณ ๔-๕ลูกปรับระดับคีย์เสียง

ให้เหมาะสมกับเสียงดนตรีหลัก โดยปรับความตึงของหนังยางวางเรียงไหบนขาตั้งไห

จากใหญ่ไปหาเล็ก และผู้บรรเลงไหซองก็เป็นผู้ชายเหมือนเครื่องดนตรีอื่นๆ วงโปงลาง

ในยุคปัจจุบัน ส่วนใหญ่ ใช้เบส คุมจังหวะ จึงไม่มีการดีดไหซองจริงๆซึ่งไหซองในปัจจุบัน

เป็นเพียงโชว์ลีลาการดีดประกอบท่าฟ้อนรำแบบอ่อนช้อยแพรวพราวดังนั้น จึงนิยมใช้ผู้หญิง

เป็นผู้ดีดไห เรียกว่า นางดีดไห หรือนางไหและนางไหนี่เอง ถือเป็นจุดดึงดูดความสนใจของผู้ชมได้มาก ประเภทเครื่องดีดดนตรีไทย